CMUGS EP17: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: กลุ่มชาติพันธุ์กับการเกษตรรูปแบบใหม่ Smart Farming

. จุฑามาศ โชคกิติคุณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .           ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ หนึ่งในคำจำกัดความของคำว่า “สังคมพหุวัฒนธรรม” ที่มีความหมายว่า สังคมที่มีความหลากหลายของคนและกลุ่มคนที่หล่อหลอมรวมกัน แต่ในมิติของความคิดและความรู้สึกของคนไทยจำนวนไม่น้อย พบว่า ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ ยังไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่าเป็นประชาชนของประเทศอย่างสมบูรณ์            

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP16: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: การเข้ามาของวัฒนธรรมเกาหลีกับการมาเป็นส่วนหนึ่งของเทรนธุรกิจอาหารในประเทศไทย

. กรณ์ธนัตถ์ รามณรงค์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . การเข้ามาของวัฒนธรรมข้ามพรมแดนจากเกาหลี กับคลื่นลูกใหญ่อย่าง Korean wave ที่ส่งผลต่อกระบวนทัศน์ในการดำเนินธุรกิจด้านอาหารในประเทศไทย ใครจะไปรู้จากการส่งออกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเกาหลีใต้จะสามารถเปลี่ยนอะไรหลาย ๆ อย่างของโลกได้ ประเทศไทยจะตามคลื่นลูกนี้ไปพร้อมๆ กับระดับโลก เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้หรือไม่

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP15: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: ท่าอากาศยานนานาชาติเบตงกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว

. คอลิค เหมแก้ว นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ —-               ท่าอากาศยานนานาชาติเบตง หรือ สนามบินเบตง ที่กำลังถูกพูดถึงอย่างมากในสื่อสาธารณะ หลังจากเที่ยวบินรอบปฐมฤกษ์ของสายการบินนกแอร์ จากท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองไปยังท่าอากาศยานนานาชาติเบตง เมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา แต่ได้ถูกยกเลิกการบินชั่วคราวในเวลาต่อมา

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP 14: คริปโทเคอร์เรนซี : สกุลเงินแห่งโลกอนาคตและความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม

วันนี้จะมาแลกเปลี่ยนความรู้กันใน Series ทางเลือกเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืน เปิด Series ด้วย Infographic จาก สุธินี รักกุศล นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ที่ได้สรุปเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ Cryptocurrency เข้ากับอนาคตความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม . คริปโทเคอร์เรนซีถือเป็นเงินสกุลดิจิทัลที่มีทบาทสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจในพื้นที่เสมือนบนโลกดิจิทัล ทว่ากระบวนการผลิตคริปโทเคอร์เรนซีในปัจจุบันนั้นยังคงสร้างผลกระทบต่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมการแก้ปัญหาดังกล่าวผ่านแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP 13: “เตียวก๋ายเจียงใหม่ในช่วงโควิดซ้ำซ้อน”

ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในเมืองเชียงใหม่เป็นอย่างมาก ทำให้ทีมชมรมภูมิศาสตร์ (CMU Geographic Society) ได้เกิดไอเดียโครงการใหม่ชึ้น ชื่อว่า “เตียวก๋ายเจียงใหม่ในช่วงโควิดซ้ำซ้อน” โดยมีจุดประสงค์ที่จะสะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่ในขณะที่เกิดการระบาดของโควิด-19 และนำสิ่งของไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือชีวิตคนเชียงใหม่ จากการที่ได้ลงพื้นที่ในคูเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เราจึงได้ทำการเก็บภาพบรรยากาศและจัดทำเป็นภาพพร้อมคำอธิบายจำนวน 10 ภาพเพื่อให้ผู้ชมทุกท่านสามารถที่จะรับรู้ได้ถึงบรรยากาศในขณะถ่ายภาพได้ดียิ่งขึ้น ผู้ชมทุกท่านสามารถที่จะรับชมได้เลยครับ

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.12 : Southeast Asia Essay Series :  มหานครจมบาดาล? กรณีศึกษามหานครในคาบสมุทรอินโดจีน

ศิริพัฒน์ รั่วลี นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ……………………………………………. ในปัจจุบันนี้ทั่วโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล รวมไปถึงการทรุดตัวของแผ่นดิน สิ่งต่างๆ เหล่านี้สอดคล้องกับการที่มหานครชายฝั่งทะเลเผชิญกับภาวะแผ่นดินทรุดตัวและการเกิดน้ำท่วมอย่างหนัก เป็นเพราะมหานครใหญ่หลายแห่ง เช่น กรุงเทพมหานคร ย่างกุ้ง โฮจิมินห์ และอีกหลายเมืองทั่วทั้งโลก ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล จนทำให้ในอนาคตมหานครเหล่านี้อาจต้องเผชิญกับภาวะ

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.11 : Southeast Asia Essay Series : สีหนุวิลล์: ภาพสะท้อนการพัฒนาที่ถดถอยจากการเข้ามาลงทุนของจีน

สุธินี  รักกุศล นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ …………………………………………….. สีหนุวิลล์กับการเข้ามาลงทุนของจีน สีหนุวิลล์เป็นเมืองท่าที่มีความสำคัญของประเทศกัมพูชา และเป็นเป้าหมายใหม่ในการพัฒนาของรัฐบาลกัมพูชาผ่านแผนการพัฒนา Sihanoukville 2030 เพื่อส่งเสริมให้สีหนุวิลล์เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาทางเศรษฐกิจทั้งด้านการคมนาคม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว ควบคู่กับการยกระดับรายได้ของประชากรให้หลุดพ้นจากการเป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวต่ำ นอกจากนี้ สีหนุวิลล์เป็นหนึ่งในพื้นที่ยุทธศาสตร์สำคัญที่มีมีนักลงทุนจากประเทศจีนเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ และจะเชื่อมต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านโครงการ Belt

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.10 : Southeast Asia Essay Series :  เมืองโตเดี่ยวของไทยกับคุณภาพชีวิตของประชากรและแรงงานข้ามชาติ

อัษฎาวุธ อินทรมา นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ……………………………………………. เมืองโตเดี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่แตกต่างของผู้คน       ประเทศที่จัดอยู่ในกลุ่มกำลังพัฒนามักมีการเติบโตของเมืองในลักษณะเมืองโตเดี่ยว หรือในอีกชื่อ “เอกนคร” (Primate city) ซึ่งสร้างความแตกต่างของระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจระหว่างเมืองโตเดี่ยวและเมืองรอง เกิดการอพยพย้ายเข้ามาเพื่อแสวงหาโอกาสด้านเศรษฐกิจจากภูมิภาครอบข้าง เป็นผลให้เอกนครมีจำนวนประชากรจำนวนมากเกินขอบเขตที่จะรองรับด้านสวัสดิการหรือการบริการของรัฐด้านต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดมักจะเป็นกลุ่มคนยากจน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ขาดอำนาจในทางเศรษฐกิจ

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.9 : Southeast Asia Essay Series : กระบวนการกลายเป็นประชาธิปไตยของประเทศอินโดนีเซีย

นภัสสร เครือวงศ์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ………………………………………………… ประเทศอินโดนีเซียถือเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พัฒนาประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การลงจากอำนาจเผด็จการของประธานาธิบดีซูฮาร์โต (Suharto) ในช่วงวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง บทความนี้จะทำการวิเคราะห์ถึงปัจจัยและกระบวนการพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ที่ส่งผลจนกลายเป็นประชาธิปไตยที่ได้รับการยอมรับในปัจจุบัน ระบอบอำนาจในอินโดนีเซีย           สืบเนื่องมาจากหลังประเทศอินโดนีเซียภายหลังได้รับเอกราช ซูการ์โนได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี และพยายามที่จะใช้การระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาแต่ไม่สำเร็จ จึงได้มีการใช้ระบอบประชาธิปไตยแบบนำวิถี (Guided

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS: ใส่แว่นส่องโลก EP.8 : Southeast Asia Essay Series : สยามมาเลย์ในสังคมพหุวัฒนธรรมมาเลเซีย

สุกัญญา สุขเกษม นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ………………………………………………. การปักปันเขตแดนนำไปสู่การมีดินแดนที่แน่นอนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นองค์ประกอบสำคัญของการเกิดรัฐ-ชาติ [1] อย่างไรก็ดี การปักปันเขตแดนไทย-มาเลเซียทำให้เกิดสิ่งตกค้างทางสังคมและวัฒนธรรมในรูปของกลุ่มคนพลัดถิ่นที่มีชื่อว่า “ชาวสยามมาเลย์” บทความนี้จะวิเคราะห์ความแตกต่างว่าด้วยอัตลักษณ์และการดำรงชีวิตของชาวมาเลเซียเชื้อสายสยามกับการปรับตัวในที่อยู่อาศัยใหม่ เมื่อเปรียบเทียบกับชาวมลายูซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิม ทำไมถึงกลายมาเป็นสยามมาเลย์ ก่อนอื่นเลยเราควรที่จะทราบว่า แรกเริ่มรัฐในประเทศมาเลเซียปัจจุบันที่มีชาวสยามหรือคนไทยอาศัยอยู่ ได้แก่ เกดะห์

แชร์ข้อความ:
Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save