ประกาศศูนย์ภูมิศาสตร์โอลิมปิก สอวน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการประเมินความรู้ ความสามารถ เพื่อเข้าค่าย 1 ภูมิศาสตร์โอลิมปิก ประจำปีการศึกษา 2565

ศูนย์ภูมิศาสตร์โอลิมปิก สอวน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอประกาศรายชื่อผู้ผ่านการประเมินความรู้ ความสามารถ เพื่อเข้าค่าย 1 ภูมิศาสตร์โอลิมปิก ประจำปีการศึกษา 2565 ดังรายละเอียดตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ และขอให้โรงเรียนเป็นผู้รวบรวมรายชื่อและยืนยันสิทธิ์เพื่อเข้าค่าย 1 ภายในวันที่ 5 กันยายน 2565 ก่อนเวลา 16.00 น.

แชร์ข้อความ:
Read more

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบโครงการภูมิศาสตร์โอลิมปิกวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2565

ศูนย์ภูมิศาสตร์โอลิมปิก สอวน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบโครงการภูมิศาสตร์โอลิมปิกวิชาการ เพื่อคัดเลือกนักเรียนเข้าค่าย 1 ประจำปีการศึกษา 2565 ท่านสามารถตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ ดังเอกสารแนบนี้ 01-65 ประกาศ รายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ วัน เวลา สถานที่สอบ ดาวน์โหลด 02-65 เอกสารแนบหมายเลข 1

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปงานเสวนา Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 9 บรรยายโดย Professor Shin Hyun Bang

หัวข้อ: ทฤษฎีสร้างได้จากที่ไหน? บทสะท้อนงานเขียนเชิงวิชาการจากโลกตะวันออก (Theorising from where? Reflections on scholarly writing from the global East) บรรยายโดย: Professor Shin Hyun Bang, London

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP17: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: กลุ่มชาติพันธุ์กับการเกษตรรูปแบบใหม่ Smart Farming

. จุฑามาศ โชคกิติคุณ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .           ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ หนึ่งในคำจำกัดความของคำว่า “สังคมพหุวัฒนธรรม” ที่มีความหมายว่า สังคมที่มีความหลากหลายของคนและกลุ่มคนที่หล่อหลอมรวมกัน แต่ในมิติของความคิดและความรู้สึกของคนไทยจำนวนไม่น้อย พบว่า ‘กลุ่มชาติพันธุ์’ ยังไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่าเป็นประชาชนของประเทศอย่างสมบูรณ์            

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP16: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: การเข้ามาของวัฒนธรรมเกาหลีกับการมาเป็นส่วนหนึ่งของเทรนธุรกิจอาหารในประเทศไทย

. กรณ์ธนัตถ์ รามณรงค์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ . การเข้ามาของวัฒนธรรมข้ามพรมแดนจากเกาหลี กับคลื่นลูกใหญ่อย่าง Korean wave ที่ส่งผลต่อกระบวนทัศน์ในการดำเนินธุรกิจด้านอาหารในประเทศไทย ใครจะไปรู้จากการส่งออกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของเกาหลีใต้จะสามารถเปลี่ยนอะไรหลาย ๆ อย่างของโลกได้ ประเทศไทยจะตามคลื่นลูกนี้ไปพร้อมๆ กับระดับโลก เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้หรือไม่

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 09 – ทฤษฎีสร้างได้จากที่ไหน? บทสะท้อนงานเขียนเชิงวิชาการจากโลกตะวันออก (Theorising from where? Reflections on scholarly writing from the global East)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 9 เดือนกรกฎาคม 2565 เรื่อง ทฤษฎีสร้างได้จากที่ไหน? บทสะท้อนงานเขียนเชิงวิชาการจากโลกตะวันออก (Theorising from where? Reflections on scholarly writing from the

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP15: ทางเลือกของเศรษฐกิจและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Series: ท่าอากาศยานนานาชาติเบตงกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว

. คอลิค เหมแก้ว นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ —-               ท่าอากาศยานนานาชาติเบตง หรือ สนามบินเบตง ที่กำลังถูกพูดถึงอย่างมากในสื่อสาธารณะ หลังจากเที่ยวบินรอบปฐมฤกษ์ของสายการบินนกแอร์ จากท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมืองไปยังท่าอากาศยานนานาชาติเบตง เมื่อวันที่ 14 มีนาคมที่ผ่านมา แต่ได้ถูกยกเลิกการบินชั่วคราวในเวลาต่อมา

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP 14: คริปโทเคอร์เรนซี : สกุลเงินแห่งโลกอนาคตและความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม

วันนี้จะมาแลกเปลี่ยนความรู้กันใน Series ทางเลือกเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืน เปิด Series ด้วย Infographic จาก สุธินี รักกุศล นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 ที่ได้สรุปเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ Cryptocurrency เข้ากับอนาคตความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม . คริปโทเคอร์เรนซีถือเป็นเงินสกุลดิจิทัลที่มีทบาทสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งเศรษฐกิจในพื้นที่เสมือนบนโลกดิจิทัล ทว่ากระบวนการผลิตคริปโทเคอร์เรนซีในปัจจุบันนั้นยังคงสร้างผลกระทบต่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมการแก้ปัญหาดังกล่าวผ่านแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP 13: “เตียวก๋ายเจียงใหม่ในช่วงโควิดซ้ำซ้อน”

ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในปีที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนในเมืองเชียงใหม่เป็นอย่างมาก ทำให้ทีมชมรมภูมิศาสตร์ (CMU Geographic Society) ได้เกิดไอเดียโครงการใหม่ชึ้น ชื่อว่า “เตียวก๋ายเจียงใหม่ในช่วงโควิดซ้ำซ้อน” โดยมีจุดประสงค์ที่จะสะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่ในขณะที่เกิดการระบาดของโควิด-19 และนำสิ่งของไปบริจาคเพื่อช่วยเหลือชีวิตคนเชียงใหม่ จากการที่ได้ลงพื้นที่ในคูเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เราจึงได้ทำการเก็บภาพบรรยากาศและจัดทำเป็นภาพพร้อมคำอธิบายจำนวน 10 ภาพเพื่อให้ผู้ชมทุกท่านสามารถที่จะรับรู้ได้ถึงบรรยากาศในขณะถ่ายภาพได้ดียิ่งขึ้น ผู้ชมทุกท่านสามารถที่จะรับชมได้เลยครับ

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปงานเสวนา Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 7 บรรยายโดย Dr. Marion Borderon

หัวข้อ “ความท้าทายด้านแนวคิดและวิธีวิทยาในการทำความเข้าใจรูปแบบการ (ไม่) เคลื่อนย้ายท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ: ข้อมูลเชิงลึกจากเอธิโอเปียและอินเดีย” บรรยายโดย Dr.Marion Borderon Senior Scientist, Department of Geography & Regional ResearchFaculty of Earth Sciences, Geography

แชร์ข้อความ:
Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save