ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บุคลากรสายวิชาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ทวี ชัยพิมลผลิน

ตำแหน่ง : อาจารย์

tawee.c@cmu.ac.th

0 5394 3529

Scopus Database (Scholars@SOCCMU)

Content Navigation

เกี่ยวกับ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวี ชัยพิมลผลิน เป็นอาจารย์ภาควิชาภูมิศาสตร์ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2546 โดยได้รับทุนแลกเปลี่ยนและอบรมระยะสั้นในประเทศต่างๆ ดังนี้ Workshop in Water Urban Risks: Designing Evacuation Strategies in Case of Flooding with Agent-Based Modeling and GAMA (at National University of Management (NUM), Phnom Penh, Cambodia), Workshop in Computer modeling and simulation of socio-environmental systems: “Exploring and designing adaptation strategies against salinity intrusion in the Vietnamese Mekong Delta” (at Can Tho University, Can Tho, Vietnam), Workshop in Program “Summer School in Rapid Mapping Technique for Disaster Observation and Global Change Data Acquisition” (at Yogyakarta, Indonesia), Workshop Capacity Building in Asia using Information Technology Application (CASITA) Development of a course curriculum on “Multi hazard risk assessment”. (at Hanoi, Vietnam), CASITA Final Workshop (at Indian Institute of Remote Sensing (IIRS), Dehradun, India) and Fusion Project (at Anglia Ruskin IT Research Institute, Anglia Ruskin University, UK)
ปัจจุบันทวีเน้นวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม สำหรับพยากรณ์น้ำท่วม พยากรณ์ปริมาณน้ำฝน คาดการณ์ดัชนีความแห้งแล้ง และวิเคราะห์หาปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อการประเมินแผนที่ความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติประเภทต่างๆ

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Neural Network Model
  • Flood Forecasting
  • Disaster Risk Assessment

โครงการวิจัย

ทวี ชัยพิมลผลิน (2567) การปรับปรุงโครงสร้างแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมเพื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่น CM Water Forecast กิจกรรมเชิงรุกของ ศูนย์วิชาการสนับสนุนด้านการบริหารจัดการน้ำ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวี ชัยพิมลผลิน และ ศุภชัย มุกดาสนิท (2566) การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับการพยากรณ์ดัชนีความแห้งแล้งและระบบสนับสนุนการตัดสินใจการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) 
ทวี ชัยพิมลผลิน ศุภชัย มุกดาสนิท ปรีชา แย้มเยื้อน และธนวัฒน์ แปงใจ (2563) การพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมเพื่อการพยากรณ์น้ำท่วมในรูปแบบโมบายแอพพลิเคชั่น สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ศุภธิดา อ่ำทอง ทวี ชัยพิมลผลิน และชาคริต โชติอมรศักดิ์ (2563) แอพพลิเคชั่นการจัดการดิน น้ำ และปุ๋ยเพื่อการปลูกข้าวแปลงใหญ่ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ศุภธิดา อ่ำทอง ทวี ชัยพิมลผลิน และชาคริต โชติอมรศักดิ์ (2563) การถ่ายทอดเทคโนโลยีแอพพลิเคชั่น Smart NPK สำหรับการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการปลูกพืชแปลงใหญ่ของจังหวัดเชียงใหม่ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
วาทินี ถาวรธรรม, เนตรนภิส ตันเต็มทรัพย์, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปิติ, ทวี ชัยพิมลผลิน, นฤมล แก้วจำปา, วรวีร์ แสงอาวุธ, คณิน หุตานุวัตร, ญาณิน จิวะกิดาการ หุยากรณ์, ฉัตรชัย สุดโต, ยุพิน ไชยสมภาร, พิมพกานต์ บุญสวัสดิ์. (2562). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน. (รายการการวิจัยฉบับสมบูรณ์) สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 
วาทินี ถาวรธรรม, วันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ, ทวี ชัยพิมลผลิน, ญาณิน จิวะกิดาการ หุยากรณ์. (2562). โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน. (รายการการวิจัยฉบับสมบูรณ์) สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทวี ชัยพิมลผลิน และเผ่าไทย สินอำพล (2562) การประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมในการคาดการณ์ระดับน้ำในอนาคตจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการปรับตัวของชุมชนต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอำเภอบางระกำ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
ศุภธิดา อ่ำทอง ทวี ชัยพิมลผลิน และชาคริต โชติอมรศักดิ์ (2561) การจัดการทางการเกษตรเพื่อลดผลกระทบและตั้งรับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ แผนบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ (บูร 29 กลุ่มจังหวัด)
ทวี ชัยพิมลผลิน (2561) การพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมโดยใช้ข้อมูลจากแบบจำลองสภาพอากาศเพื่อการพยากรณ์น้ำท่วม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวี ชัยพิมลผลิน (2560) ยุทธวิธีการออกแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วม กรณีศึกษา ลุ่มน้ำปิงตอนบนและลุ่มน้ำมูลตอนล่าง สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ทวี ชัยพิมลผลิน (2558) การพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม สำหรับการพยากรณ์น้ำท่วมในลุ่มแม่น้ำปิงตอนบน: กรณีศึกษาสถานี P.67 และ P.1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทวี ชัยพิมลผลิน และทวีศักดิ์ วังไพศาล (2556) โครงการการพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมเพื่อพยากรณ์ระดับน้ำ สำหรับการเตือนภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำมูล สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ทวี ชัยพิมลผลิน (2555) การพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วม ในลุ่มน้ำปิงตอนบน โดยใช้ภาพเรดาร์และข้อมูลอุทกวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในประเทศ

ศุภชัย มุกดาสนิท และทวี ชัยพิมลผลิน (2565) การยอมรับเทคโนโลยีต่อการตัดสินใจเลือกใช้งานแอพพลิเคชั่นเพื่อให้บริการพยากรณ์ น้ำท่วมพื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(2). 1-15.
ชฎาภา ใจหมั้น, ศุภธิดา อ่ำทอง, ทวี ชัยพิมลผลิน และชาคริต โชติอมรศักดิ์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายใต้การปลูกข้าวที่มีการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร. 37(2), 47-59.
พรรณปพร บุญแปง และ ทวี ชัยพิมลผลิน. (2563). ความเป็นไปได้สำหรับการคาดการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยด้วยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(4) หน้า 400-413.
ศุภธิดา อ่ำทอง ทวี ชัยพิมลผลิน และ ชาคริต โชติอมรศักดิ์. (2562). ความสัมพันธ์ของคาร์บอนอินทรีย์โดยวิธีเพอร์แมงกาเนตออสซิไดส์เซเบิลกับอินทรีย์วัตถุเพื่อเป็นดัชนีคุณภาพของดินปลูกลำไยและดินปลูกข้าว. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร, 36(1) หน้า 1-10.
ยุพิน ไชยสมภาร และทวี ชัยพิมลผลิน. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมในการพยากรณ์น้ำท่วมเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 38(3) หน้า 330-337. 
ทวี ชัยพิมลผลิน (2561) แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์ระดับน้ำในลุ่มน้ำยมตอนล่างด้วยข้อมูลน้ำฝนกริดจากแบบจำลองสภาพภูมิอากาศ วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 21, หน้า 80-93.
ทวี ชัยพิมลผลิน (2561) การเปรียบเทียบ 12 กระบวนการเรียนรู้ของแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วมในลุ่มน้ำปิงตอนบน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(3), หน้า 389-401.
สุภาวดี ซ้องก๋า และทวี ชัยพิมลผลิน (2561) การพัฒนาแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการคาดการณ์น้ำท่วม ณ สถานี Y.16 บางระกำ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(1), หน้า 119-129. 
ยุพิน ไชยสมภาร ทวี ชัยพิมลผลิน และ ชาคริต โชติอมรศักดิ์ (2560) การประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมเพื่อคาดการณ์น้ำท่วมในอนาคต: กรณีศึกษาเทศบาลนครเชียงใหม่. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 20 หน้า 169-178. 
ยุพิน ไชยสมภาร และ ทวี ชัยพิมลผลิน (2560) การพยากรณ์ระดับน้ำโดยแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมด้วยข้อมูลน้ำฝนจากแบบจำลอง WRF-ECHAM5 วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 9(17), หน้า 83-90.
ทวี ชัยพิมลผลิน และทวีศักดิ์ วังไพศาล (2559) แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วมในลุ่มน้ำมูลตอนล่าง วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(5) หน้า 587-595.
วิภา อินเรือง และ ทวี ชัยพิมลผลิน (2558) การคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศร่วมกับโครงข่ายประสาทเทียม วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ 18 หน้า 191-207.
ทวี ชัยพิมลผลิน (2557) 50 ปี กับการประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วมในประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 26(2) หน้า 171-192. 
ทวี ชัยพิมลผลิน (2557). บทบาทของแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับงานวิจัยทางด้านภูมิศาสตร์ในประเทศไทย วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (17) หน้า 315-327.
ทวี ชัยพิมลผลิน. (2557). การป้องกันน้ำท่วมของประเทศเนเธอร์แลนด์. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 6 (11) หน้า 55-65.
ทวี ชัยพิมลผลิน. (2557). การใช้ภาพเรดาร์และข้อมูลอุทกวิทยาร่วมกับแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วมในลุ่มน้ำปิงตอนบน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 33(4) หน้า 267-274.
ทวี ชัยพิมลผลิน. (2557). “ภูมิศาสตร์และโครงข่ายประสาทเทียม”. ใน ลิวา ผาดไธสง (บรรณาธิการ) งานวิจัยทางภูมิศาสตร์: รวมบทความทาง วิชาการในวาระครบรอบ 50 ปี ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 67-75.
ทวี ชัยพิมลผลิน. (2556). การใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับปฐพีศาสตร์. วารสารแก่นเกษตร, 41 (ฉบับพิเศษ 2) หน้า 147-154.
Chaipimonplin, T. (2005) God creates us but Dutch make the Netherlands: Review protected land from flooding in the Netherlands. Contemporary Global Issues in Social Sciences, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, pp 179-187. ISBN: 974-656-770-5.

การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับประเทศ

ศุภธิดา อ่ำทอง ทวี ชัยพิมลผลิน และ ชาคริต โชติอมรศักดิ์. (2562). “ศักยภาพการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทนจากดินทำการเกษตรของภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย” ในการประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 6, 3-5 กรกฎาคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (โปสเตอร์)
ชฎาภา  ใจหมั้น, ศุภธิดา  อ่ำทอง, ทวี  ชัยพิมลผลิน และชาคริต  โชติอมรศักดิ์. (2561). ผลกระทบของการใช้ถ่านชีวภาพร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในดินปลูกข้าวต่อการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและสมบัติบางประการของดินเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดการน้ำแบบขังน้ำ. การประชุมวิชาการระดับชาติ. วันที่ 11 ธันวาคม 2561. อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. (หน้า 88 – 98). 
Aumthong, S., Chotamonsak, C. and Chaipimonplin, T. (2019). Effect of some modulators under various land uses for soil C storage in Northern Thailand.  The 6th National Soil and Fertilizer Conference. 3-5 July, Kasetsart University, Thailand (บรรยาย)
ยุพิน ไชยสมภาร และทวี ชัยพิมลผลิน. (2559). “การประยุกต์ใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมร่วมกับข้อมูลจากแบบจำลองสภาพอากาศระดับภูมิภาคเพื่อคาดการณ์น้ำท่วมในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่” ในการประชุมวิชาการนิสิตนักศึกษาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8, 25-26 ธันวาคม 2558, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12 หน้า 
ทวี ชัยพิมลผลิน (2556) การใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับปฐพีศาสตร์ ในการประชุมวิชาการ ดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 3, 25-27 เมษายน, หน้า 331-338, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ทวี ชัยพิมลผลิน (2556) การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้เบเซียสเรกูลาลิเซชั่น และช่วงค่าของนอร์มาลิเซชั่นในแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วม ในการประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม, หน้า APP1-6, โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่
วิภา อินเรือง และ ทวี ชัยพิมลผลิน (2556) การใช้โครงข่ายประสาทเทียมร่วมกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงดินถล่มในจังหวัดอุตรดิตถ์: เปรียบเทียบกระบวนการเรียนรู้และโครงสร้างสถาปัตยกรรมที่เหมาะสม ในการประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม, หน้า APP53-58, โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่
ฉัตรสกุล เดชวงศ์ญา และ ทวี ชัยพิมลผลิน (2556) การพยากรณ์น้ำไหลเข้าอ่างเก็บน้ำโดยใช้แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียมร่วมกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ: กรณีศึกษาเขื่อนแม่กวงอุดมธารา ในการประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม, หน้า APP59-64, โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่

การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการนานาชาติ

Chaipimonplin, T. and Mukdanasit, S. (2024). CM Water Forecast Mobile Application Verstion 1.0. 3rd Trilateral Symposium on Sustainability: Strategies for climate action and mitigation of climate change impacts, August 2024. Chiang Mai University, Thailand, p. 60.
Chaipimonplin, T. and Mukdanasit, S. (2023). Drought Management with Web Application for Chiang Mai Province, Thailand. 2nd Trilateral Symposium on SDGs: New Strategies Approaches Toward SDGs Beyond the COVID-19 Pandemic, August 2023. Kagawa University, Japan, p. 103.
Chaipimonplin, T. and Sin-ampol, P. (2019). Future Flood Prediction with Artificial Neural Network Model from Rainfall Grid Data at Bangrakam District, Thailand. International Conference on Capacity Building for Research and Innovation in Disaster Resilience 2019, 14-18 January 2019.
Sim-ampol, P., Chaipimonplin, T. and Songka, S. (2019). Local Community Engagement for Adaptation to Future Challenges in Pilot Flood Detention Area of Thailand. International Conference on Capacity Building for Research and Innovation in Disaster Resilience 2019, 14-18 January 2019
Chaipimonplin, T., Aumthong, S. and Chotamonsak, C. (2018). Prediction of total organic carbon storage with artificial neural network model in 9 Northern Province, Thailand. 7th Chiang Mai University-Kagawa University Joint Symposium 2018, August 2018. Chiang Mai, Thailand, pp. 48-51.
Chaipimonplin, T. (2017) Comparison learning algorithms of artificial neural network model for flood forecasting, Chiang Mai, Thailand. In Syme, G., Hatton MacDonald, D., Fulton, B. and Piantadosi, J. (eds) MODSIM 2017, 22nd International Congress on Modelling and Simulation Society of Australia and New Zealand, December 2017, pp. 473-479. ISBN: 978-2-9872143-7-9. www.mssanz.org.au/modsim2017/C6/chaipimonplin.pdf.
Chaipimonplin, T. (2016) “The efficiency of using different of learning algorithms in artificial neural network model for flood forecasting at Upper River Ping Catchment, Thailand”. 85th International Conference on Civil and Environmental Engineering (I2C2E 2016), 16-17 November 2016, Oxford, UK, 1-5.
Chaipimonplin, T. (2016) “Global navigation satellite system in Thailand” The 2nd International Conference of Indonesian Society for Remote Sensing (ICOIRS 2016), 17-19 October 2016, Yogyakarta, Indonesia, 86-89.
Aumtong, S., Chaipimonplin, T. and Pongwongkhum, P. (2016) “Artificial neural network development for forecasting soil carbon sequestration of paddy soils in Thailand”. Workshop SOMmic- Microbial Contribution and Impact on Soil Organic Matter, 9-11 November 2016, Leipzig, Germany. 
Chaipimonplin, T. and Vangpaisal, T. (2015) “The efficiency of input determination techniques in ANN for flood forecasting Mun Basin, Thailand”. The 2015 International Conference on Water Resource and Environment (WRE 2015), 25-28 July 2015, Beijing, China. 
Chaipimonplin, T. (2013). The effective of different learning algorithms of Artificial Neural Network for flood forecasting at Upper Ping River, Thailand. BIT’s 1st Annual International Conference of Emerging Industry (ICEI 2013), 6-7 November, Shenzhen, China. (Invited speaker).
Chaipimonplin, T. and Vangpaisal, T. (2013). Comparison of the efficiency of input determination techniques with LM and BR algorithms in ANN for flood forecasting, Mun Basin, Thailand. The 2013 6th International Conference on Advanced Computer Theory and Engineering (ICACTE 2013), 17-18 August, Male, Maldives.
Chaipimonplin, T., See, L.M. and Kneale, P.E. (2011). Improving Neural Network for Flood Forecasting Using Radar Data on the Upper Ping River. In Chan, F., Marinova, D. and Anderssen, R.S. (eds) MODSIM 2011, 19th International Congress on Modelling and Simulation. Modelling and Simulation Society of Australia and New Zealand, December 2011, pp.1070-1076. ISBN: 978-0-9872143-1-7. www.mssanz.org.au/modsim2011/C1/chaipimonplin.pdf)
Chaipimonplin, T., See, L.M. and Kneale, P.E. (2011). Comparison of Neural Network Learning Algorithms; BR and LM, for Flood Forecasting, Upper Ping Catchment. 10th International Symposium on New Technologies for Urban Safety of Mega Cities in ASIA (USMCA 2011) 12-14 October 2011, Chiang Mai, Thailand.
Chaipimonplin, T., See, L.M. and Kneale, P.E. (2008). Use of neural network to predict flooding in Chiang Mai, Thailand: comparison of input determination techniques. AOGS 2008, The Asian Oceania Geosciences Society, Pusan, South Korea, 17-19 June 2008.
Chaipimonplin, T., See, L.M. and Kneale, P.E. (2008). Neural network prediction of flooding in Chiang Mai, Thailand: comparison of input determination techniques. EGU, Vienna, Austria, 13-18 Apr 2008.

หนังสือ

ทวี ชัยพิมลผลิน (2566) ลุ่มน้ำภาคเหนือ การกระจายตัวของสถานีอุทกวิทยาและสถานีอุตุนิยมวิทยา สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (e-book) ISBN: 978-616-398-837-9
ทวี ชัยพิมลผลิน (2564) พิบัติภัย-ภัยพิบัติในโลกสมัยใหม่ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ISBN: 978-616-398-622-1
ทวี ชัยพิมลผลิน (2563) พิบัติภัย-ภัยพิบัติในโลกสมัยใหม่ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (e-book) ISBN: 978-616-398-458-6
Phaothai Sin-ampol, Tawee Chaipimonplin and Supawadee Songka (2021). Local Community Engagement for Adaptation to Future Challenges in The Pilot Flood Detention Area of Thailand, Book chapter in External Interventions for Disaster Risk Reduction, Springer Singapore.