ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

บุคลากรสายวิชาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

อริศรา เจริญปัญญาเนตร

ตำแหน่ง : อาจารย์

arisara.c@cmu.ac.th

0 5394 3580

Content Navigation

เกี่ยวกับ

ดร. อริศรา เจริญปัญญาเนตร มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ทางด้านรีโมทเซนซิง (remote sensing) มากกว่า 10 ปี โดยมุ่งเน้นงานวิจัยด้านการประยุกต์รีโมทเซนซิงในประเด็นต่าง ๆ อาทิ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การประมาณค่าฝุ่น PM2.5 สารมลพิษอื่น ๆ การประเมินคาร์บอนกักเก็บเหนือพื้นดิน (above-ground carbon stock) การประเมินการบริการของระบบนิเวศ (ecosystem service) การวิเคราะห์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน/สิ่งปกคลุมดิน การศึกษาเกี่ยวกับโรคหรือระบาดวิทยาเชิงพื้นที่ การวิเคราะห์ทางด้านการเกษตร การประเมินคุณภาพของดิน นอกจากนี้ยังมีประสบการณ์ด้านการบริการวิชาการในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อการรู้-รับ-ปรับตัว (resilience) จากภัยฝุ่น PM2.5 ให้กับเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป เสริมสร้างศักยภาพชุมชนโดยเน้นการพัฒนานวัตกรรมโดดเด่นเพื่อแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 และผลักดันชุมชนวิถีคาร์บอนต่ำ (low carbon community) ดร. อริศรา เจริญปัญญาเนตร สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขา Remote Sensing and GIS จาก Asian Institute of Technology (AIT) ระดับปริญญาโทและปริญญาตรี สาขาวิชาภูมิศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การศึกษา

  • Doctor of Technical Science (Remote Sensing and Geographic Information Systems), Asian Institute of Technology, 2009
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ภูมิศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ภูมิศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2541

การสอน

  • รีโมทเซนซิงประยุกต์ทางภูมิศาสตร์ (Applied Remote Sensing in Geography)
  • การจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ (Disaster Risk Management)
  • ภูมิสารสนเทศและสุขภาพ (HealthGIS)
  • ภูมิศาสตร์การขนส่ง 

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การจัดการและวิเคราะห์ปัญหาเชิงพื้นที่ด้วยภาพถ่ายจากดาวเทียม
  • การจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติ
  • การวิเคราะห์โรคเชิงพื้นที่

ผลงานวิชาการ/วิจัย

·     พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2567). การศึกษาและประเมินนวัตกรรมที่เหมาะสมในการจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ (ทิ้ง) ทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เครือเจริญโภคภัณฑ์.

·  เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล, รัตชยุดา กองบุญ, ประสิทธิ์ วังภคพัฒนวงศ์, อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2567). การศึกษาหาแนวทางการดำเนินงานBiodiversity Offsets ระดับองค์กรปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.   

·   อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2566). การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่ส่งผลต่อการเผาในที่โล่งและฝุ่น PM2.5 ในจังหวัดเชียงราย. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน).

·    อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2566). การติดตามพื้นที่ปลูกข้าวโพดและจุดความร้อนจากภาพดาวเทียมระหว่างปี พ.ศ. 2564-2566 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา). กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2566). การเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการรู้รับปรับตัว (resilience) จากภัยฝุ่นละอองขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2565). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่า จุดความร้อน (Hotspot) และฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ระหว่าง ปี พ.ศ. 2545-2565 ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2565). การวิเคราะห์ข้อมูล พื้นที่เหมาะสมในการปลูกไม้มีค่าเพื่อเศรษฐกิจ ระบบนิเวศ และเป็นหลักประกันที่มั่นคง. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน).

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2565). พื้นที่ยางพารา การเผาในที่โล่ง และสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ในจังหวัดเชียงราย: การติดตามและหาความสัมพันธ์ในมิติเชิงเวลาด้วยข้อมูลดาวเทียม. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2564). การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ร่องรอยพื้นที่เผาไหม้ และจุดความร้อนจากภาพดาวเทียมระหว่าง ปี พ.ศ. 2558-2563 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา). กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2564). การขับเคลื่อนกิจกรรม PES เพื่อสร้างการรับรู้และเข้าใจอย่างมีส่วนร่วม สร้างการรับรู้ความตระหนักของคุณค่าบริการระบบนิเวศ และการศึกษาข้อมูลเพื่อพัฒนา Online Platform. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน).

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2564). การศึกษาและพัฒนาระบบรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

·      พลภัทร เหมวรรณ อริศรา เจริญปัญญาเนตร และภูดินันท์ สิงห์คำฟู. (2564). โครงการในการศึกษาการอำนวยการปฏิบัติเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติและสาธารณภัยของ นทพ.. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ.

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2563). การจัดทำระบบบริหารจัดการและประมวลผลข้อมูล (Dashboard) การดำเนินงานพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.   

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2563). การจัดทำแผนที่พื้นที่สีเขียวนอกเขตอนุรักษ์/แผนที่เศรษฐกิจชุมชน 4,500 ไร่ฯ. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.   

·      พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2563). การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดินด้วยข้อมูลดาวเทียมเพื่อการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสัมพันธ์ต่อการเกิดจุดเผาไหม้ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2563). การติดตามพื้นที่ปลูกข้าวโพด ร่องรอยพื้นที่เผาไหม้ และจุดความร้อนจากภาพดาวเทียมระหว่าง ปี พ.ศ. 2558-2562 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา). กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และพลภัทร เหมวรรณ. (2562). การทำแผนที่ความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) จากภาพถ่ายดาวเทียม ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน (เมียนมา สปป.ลาว และกัมพูชา). กรุงเทพฯ: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

·      พันธุ์ลพ หัตถโกศล, วิไลลักษณ์ กิจจนะพานิช, ชิตชล ผลารักษ์, มานพ แก้วโมราเจริญ, ศิริศักดิ์ เกษารัตน์, สุนทร จันทร์ยอง, อริศรา เจริญปัญญาเนตร, อณัญญา กนกกาญจน์กุล และชลธร ทิพย์สุวรรณ. (2561). การแก้ไขปัญหาดินและตะกอนดินปนเปื้อนแคดเมียมบริเวณลุ่มน้ำแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. กรุงเทพฯ: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่.

·      พลภัทร เหมวรรณ อริศรา เจริญปัญญาเนตร และชัยภัทร โนจิตร. (2561). การดำเนินการจัดทำระบบ GIS พื้นที่บ้านหัวเลา และเครือข่ายลุ่มน้ำบ้านหัวเลา ตำบลป่าแป๋ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.

·      วีระศักดิ์ ปัญญาพรวิทยา อริศรา เจริญปัญญาเนตร และเกตุจันทร์ จำปาไชยศรี. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชั่นสำหรับสมาร์ทโฟนและซอฟแวร์ฐานข้อมูลทางภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจประชากรลิงและสิ่งแวดล้อมที่ประชากรลิงอาศัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์ไพรเมทแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

·      ลิวา ผาดไธสง อริศรา เจริญปัญญาเนตร ชนิดา สุวรรณประสิทธิ์ และเผ่าไทย สินอำพล. (2561). มลภาวะจากหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ หนึ่งทศวรรษกับการป้องกันและลดผลกระทบ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2560). การประเมินศักยภาพการเคลื่อนย้ายของแคดเมียมในตะกอนดิน. กรุงเทพฯ: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร พลภัทร เหมวรรณ และมาลัยรัตน์ สว่างรัตนกุล. (2560). การตรวจหาฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (PM2.5) ด้วยข้อมูลดาวเทียม TERRA/AQUA ระบบ MODIS พื้นที่ภาคเหนือตอนบน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.  

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร และชนิดา สุวรรณประสิทธิ์. (2560). ภาพถ่ายทางอากาศสีเชิงเลขสำหรับการศึกษาการใช้ประโยชน์อาคารและการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร พลภัทร เหมวรรณ และอมรรดา ไตรรัตน์. (2559). การพัฒนาระบบประเมินศักยภาพพื้นที่ต่อภัยแล้งเพื่อจัดการความเสี่ยงภัยพิบัติในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.  

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2558). การวิเคราะห์ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและอุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกด้วยวิธีการทางภูมิสารสนเทศและสถิติ ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

·      อริศรา เจริญปัญญาเนตร พลภัทร เหมวรรณ และอมรลดา ไตรรัตน์. (2558). การตรวจหาปริมาณคาร์บอนกักเก็บของป่าไม้ต่างชนิดจากภาพดาวเทียมในภาคเหนือตอนบน. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.  

·      พลภัทร เหมวรรณ อริศรา เจริญปัญญาเนตร ชวิศ ศรีมณี และอมรลดา ไตรรัตน์. (2557). การประเมินศักยภาพการพัฒนาพื้นที่ในระบบลุ่มน้ำด้วยระบบภูมิสารสนเทศพื้นที่ลุ่มน้ำปิงส่วนที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

 

ผลงานตีพิมพ์

  • Sansamur, C., Wiratsudakul, A., Charoenpanyanet, A. and Punyapornwithaya, V. (2020). Cattles Manure Trade Network Analysis and the Relevant Spatial Pathways in an Endemic Area of Foot and Mouth Disease in Northern Thailand. Veterinary Sciences, 138(7); doi: 10.3390/vetsci7030138.
  • Charoenpanyanet, A. and Hemwan, P. (2019). “Suitable Model for Estimation of PM2.5 Concentration Using Aerosol Optical Thickness (AOT) and Ground based Station: Under the Dome in Upper Northern, Thailand”. International Journal of Geoinformatics. 15(3): pp 33-43.
  • Tantanee, A., Apichayakul, P., Buranajarukorn, P., Pardthaisong, L., Suwanprasit, C., Charoenpanyanet, A., and Sin-ampol, P. (2019). “Policies to promote research and innovation in developming countries’ universities: the case of Thailand”. Indian Journal of Public Administration 65 (3): pp 718-732.
  • Charoenpanyanet, A. (2019). “Estimation of Dengue Virus Incubation Period in Aedes Mosquito from Temperature Variability Based on Remotely Sensed Data”. International Journal of Geoinformatics. 15(1): pp 13-22.
  • Charoenpanyanet, A., and Suwanprasit, C. (2018). GeoS4S module disaster risk management. International Journal of Geoinformatics 14(3), pp. 75-78.
  • Suwanprasit, C., Charoenpanyanet, A., Pardthaisong, L. and P. Sin-ampol. (2018). "Spatial and Temporal Variations of Satellite-Derived PM10 of Chiang Mai: An Exploratory Analysis" Procedia Engineering. Vol. 212. pp. 141-148.
  • Suwanprasit, C., and Charoenpanyanet, A. (2018). GeoS4S module commercial plantation potential modelling. International Journal of Geoinformatics 14(3), pp. 39-41.
  • Thiteja, S., Khamyong, S., Charoenpanyanet, A., Huttagosol, P., and Boontun, A. (2018). Application of Remote Sensing for Estimation of Carbon Storage in a Plantation Forest on Reclaimed Land of Banpu Lignite Mine and Adjacent Natural Forest, Northern Thailand. International Journal of Engineering&Technology, 7(3.7) (2018): pp 529-533.
  • Yano, T., Phornwisetsirikun, S., Susumpow, P., Visrutaratna, S., Chanachai, K., Phetra, P., Chaisowwong, W., Trakarnsirinont, P., Hemwan, P., Kaewpinta, B., Singhapreecha, C., Kreausukon, K., Charoenpanyanet, A., Sripun R. C., Robert, L., Rodtian, P., Mahasing, S., Laiya, E., Pattamakaew, S., Tankitiyanon, T., Sansamur, C., and Srikitjakarn, L. (2018). A Participatory System for Preventing Pandemics of Animal Origins: Pilot Study of the Participatory One Health Disease Detection (PODD) System. JMIR Public Health Surveillance. 4(1): e25. doi: 10.2196/publichealth.7375. pp 1-11
  • Charoenpanyanet, A. (2017). “Modeling Anopheles Mosquito Density Spatial and Seasonal Variations Using Remotely Sensed Imagery and Statistical Methods”. International Journal of Geoinformatics. 13(1): pp35-48.
  • Pardthaisong L., Sin-ampol P, Suwanprasit and Charoenpanyanet A. (2017). "Haze Pollution in Chiang Mai, Thailand: A Road to Resilience." Procedia Engineering 212: pp 85-92.
  • วรยุทธ์ ต๊ะแก้ว พลภัทร เหมวรรณ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2563). การเปรียบเทียบอุณหภูมิความส่องสว่างจากช่วงคลื่นอินฟราเรดความร้อนที่ 1 และ 2 ของดาวเทียม LANDSAT-8. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 28(7): pp 1160-1174.
  • สุดารัตน์ ปีหลวง อริศรา เจริญปัญญาเนตร และศิริ คูอาริยะกุล. (2562). “เทคโนโลยีอวกาศร่วมกันสถิติขั้นสูงเพื่อทำนายพื้นที่ระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว”. วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย, 20 (Special Issue) ฉบับพิเศษ รวมบทความ Peer review Geoinfotech 2019: หน้า 271-286.
  • วีรพงษ์ วงศ์ก๋องแก้ว และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2562). “การประเมินอัตราการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากลแบบปรับปรุงและข้อมูลการรับรู้จากระยะไกล”. วารสารสมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย, 20 (Special Issue) ฉบับพิเศษ รวมบทความ Peer review Geoinfotech 2019: หน้า 187-198.
  • ดวงนภา ลาภใหญ่ ชาคริต โชติอมรศักดิ์ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2562). “ผลกระทบของเหตุการณ์เอนโซที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงศักยภาพของแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่อง”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 27(1): หน้า 1-14.
  • อริศรา เจริญปัญญาเนตร และชนิดา สุวรรณประสิทธิ์. (2562). “แบบจำลองการใช้ที่ดินรอบศูนย์กลางการศึกษาจากภาพถ่ายทางอากาศสีเชิงเลข”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 27(5): หน้า 807-822.
  • สุพัตรา เจรสาริกิจ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2561). “การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงวันหัวเขียว ตำบลแม่ปะ อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 26(1): หน้า 17-33.
  • ดวงนภา ลาภใหญ่ ชาคริต โชติอมรศักดิ์ และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2561). ปัจจัยสภาพภูมิอากาศที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงเปิดรับโรคมาลาเรีย กรณีศึกษาตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 11(1): หน้า 379-395.
  • อธิวัชร สังข์จันทราพร และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการขยายตัวของเมืองจากภาพดาวเทียมแสงไฟช่วงกลางคืนการใช้ที่ดินประเภทเมืองและความหนาแน่นประชากรบริเวณเมืองเชียงใหม่. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 26(7): หน้า 1094-1106.
  • สุชาดา อ่อนเมือง และอริศรา เจริญปัญญาเนตร. (2561). “เทคนิคทางภูมิสารสนเทศสำหรับวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของโรคปากและเท้าเปื่อยในโคนม อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่”. สัตวแพทย์มหานครสาร. 13(1): หน้า 1-15.