1. นวัตกรรมภูมิสารสนเทศ (GI)

งานวิจัยทางด้านการพัฒนาหรือประยุกต์ใช้แนวคิดทางด้าน การประมวลผลข้อมูลเชิงพื้นที่บนคลาวด์แพลตฟอร์ม (Geospatial cloud computing) การเขียนโปรแกรมทางภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics programming) ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Database) การใช้งานอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่งเชิงพื้นที่ (Spatial Internet of Things: IoTs) การประมวลผลข้อมูลภูมิสารสนเทศขนาดใหญ่ (Big data) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงพื้นที่ (Spatial Decision Support System) การพัฒนาแบบจำลองเชิงพื้นที่ (Spatial modeling development) หรือโลกเสมือนจริงดิจิทัล (Digital Twin) เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่อย่างเป็นระบบ

ตัวอย่างประเด็นการวิจัย

    • การสกัดข้อมูลพื้นที่บนภาพถ่ายดาวเทียมด้วย GoogleEarth Engine
    • การพัฒนาอัลกอริทึมแบบอัตโนมัติด้วยข้อมูลการรับรู้จากระยะไกล
    • การพัฒนาฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
    • การวิเคราะห์ข้อมูลบนสื่อสังคมออนไลน์สำหรับติดตามการดำเนินชีวิต
    • การวิเคราะห์และพัฒนาระบบเตือนภัยด้วยวิธีการทางสถิติ
    • การพัฒนาระบบติดตามการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อมแบบใกล้เวลาจริง
    • การพัฒนาระบบคาดการณ์อัจฉริยะแบบใกล้เวลาจริง
    • การสร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมเชิงพื้นที่โดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง
    • การพัฒนาระบบแจ้งเตือนออนไลน์ด้วย IoT และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
    • หัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

    Privacy Preferences

    คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

    Allow All
    Manage Consent Preferences
    • Always Active

    Save