สรุปงานเสวนา Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 5 บรรยายโดย Professor Patrick Sakdapolrak

หัวข้อ: การรู้รับปรับตัวข้ามท้องถิ่น: การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม การย้ายถิ่น และการรู้รับปรับตัวเชิงสังคมในชนบทของไทย (Translocal Resilience: Environmental Change, Migration and Social Resilience in Rural Thailand) บรรยายโดย: Professor Patrick Sakdapolrak,

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 05 – การรู้รับปรับตัวข้ามท้องถิ่น: การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม การย้ายถิ่น และการรู้รับปรับตัวเชิงสังคมในชนบทของไทย (Translocal Resilience: Environmental Change, Migration and Social Resilience in Rural Thailand)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 5 เดือนกุมภาพันธ์ 2565 เรื่อง การรู้รับปรับตัวข้ามท้องถิ่น: การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม การย้ายถิ่น และการรู้รับปรับตัวเชิงสังคมในชนบทของไทย (Translocal Resilience: Environmental Change, Migration and Social

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.10 : Southeast Asia Essay Series :  เมืองโตเดี่ยวของไทยกับคุณภาพชีวิตของประชากรและแรงงานข้ามชาติ

อัษฎาวุธ อินทรมา นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ……………………………………………. เมืองโตเดี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่แตกต่างของผู้คน       ประเทศที่จัดอยู่ในกลุ่มกำลังพัฒนามักมีการเติบโตของเมืองในลักษณะเมืองโตเดี่ยว หรือในอีกชื่อ “เอกนคร” (Primate city) ซึ่งสร้างความแตกต่างของระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจระหว่างเมืองโตเดี่ยวและเมืองรอง เกิดการอพยพย้ายเข้ามาเพื่อแสวงหาโอกาสด้านเศรษฐกิจจากภูมิภาครอบข้าง เป็นผลให้เอกนครมีจำนวนประชากรจำนวนมากเกินขอบเขตที่จะรองรับด้านสวัสดิการหรือการบริการของรัฐด้านต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง โดยผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดมักจะเป็นกลุ่มคนยากจน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ขาดอำนาจในทางเศรษฐกิจ

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 04 – การพัฒนางานวิจัยในด้านการปฏิสัมพันธ์: กรณีของการเมืองเรื่องวัฒนธรรมและการศึกษาผู้ย้ายถิ่น (Developing research in interactions: In the cases of cultural politics and migrant studies)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 4 ประจำเดือนมกราคม 2565 เรื่อง การพัฒนางานวิจัยในด้านการปฏิสัมพันธ์: กรณีของการเมืองเรื่องวัฒนธรรมและการศึกษาผู้ย้ายถิ่น (Developing research in interactions: In the cases of cultural

แชร์ข้อความ:
Read more

CMUGS EP.9 : Southeast Asia Essay Series : กระบวนการกลายเป็นประชาธิปไตยของประเทศอินโดนีเซีย

นภัสสร เครือวงศ์ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ………………………………………………… ประเทศอินโดนีเซียถือเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พัฒนาประชาธิปไตยอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การลงจากอำนาจเผด็จการของประธานาธิบดีซูฮาร์โต (Suharto) ในช่วงวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง บทความนี้จะทำการวิเคราะห์ถึงปัจจัยและกระบวนการพัฒนาในรูปแบบต่างๆ ที่ส่งผลจนกลายเป็นประชาธิปไตยที่ได้รับการยอมรับในปัจจุบัน ระบอบอำนาจในอินโดนีเซีย           สืบเนื่องมาจากหลังประเทศอินโดนีเซียภายหลังได้รับเอกราช ซูการ์โนได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี และพยายามที่จะใช้การระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาแต่ไม่สำเร็จ จึงได้มีการใช้ระบอบประชาธิปไตยแบบนำวิถี (Guided

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 03 – ก้าวพ้นการเชื่อมต่อที่ตื้นเขิน: ความต้องการวิธีวิจัยการผสมในยุคอภิมหาข้อมูล (big data) (Moving beyond facile connections: The need for mixed methods in the era of “big data”)

Virtual Geography Speaker Series ครั้งที่ 3 ประจำเดือนธันวาคม 2564 เรื่อง ก้าวพ้นการเชื่อมต่อที่ตื้นเขิน: ความต้องการวิธีวิจัยการผสมในยุคอภิมหาข้อมูล (big data) (Moving beyond facile connections: The need for

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปประเด็นสัมมนา Virtual Geography Speaker Series #2 บรรยายโดย ศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ Paul Robbins หัวข้อ “การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม”

ชยา วรรธนะภูติ1 และ อารียา ติวะสุระเดช2 1อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ……………………………………………………….. 1. ศาสตราจารย์ Paul Robbins ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ และคณบดีประจำ The Nelson Institute

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 02 – การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม (Exploring and Explaining Biodiversity: Quantitative and Qualitative Synergies in Environmental Research)

ขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจในวงการภูมิศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมชุดการสัมมนาครั้งที่ 2 หัวข้อ การสำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ: การผนึกกำลังงานวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านสิ่งแวดล้อม (Exploring and Explaining Biodiversity: Quantitative and Qualitative Synergies in Environmental Research) บรรยายโดย Professor Paul

แชร์ข้อความ:
Read more

สรุปประเด็นสัมมนา Virtual Geography Speaker Series #1 บรรยายโดย ศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์ James Sidaway

หัวข้อ “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของวารสาร Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” ชยา วรรธนะภูติภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ …………………………………………………….. 1. ศาสตราจารย์ James Sidaway ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านภูมิศาสตร์การเมือง (political geography) ประจำมหาวิทยาลัย

แชร์ข้อความ:
Read more

Virtual Geography Speaker Series 01 – “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของ Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” – Reflections on the disciplinary change from the vantage point of the Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)

ขอเรียนเชิญผู้ที่สนใจในวงการภูมิศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมชุดการสัมมนาครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “บทสะท้อนต่อการเปลี่ยนแปลงศาสตร์ทางภูมิศาสตร์จากมุมมองของ Singapore Journal of Tropical Geography (1953-)” – Reflections on the disciplinary change from the vantage

แชร์ข้อความ:
Read more

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save